พัฒนาความคิด โลกแห่งจินตนาการของเด็ก
นักจิตวิทยา พบว่าเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 10 ขวบ
ใช้เวลาในแต่ละวันพูดพึมพำกับตัวเอง
ซึ่งคูณพ่อคุณแม่ ผู้ปกครอง หรือคุณครูอาจจะไม่เข้าใจ
มองเป็นความไร้เดียงสาธรรมดา ตามธรรมชาติของเด็กๆ
วันนี้นักจิตวิทยาได้วิจัยพบว่า
การที่เด็กเล็กพูดกับตัวเองเป็นพฤติกรรมที่จำเป็นสำหรับเด็กที่กำลังมีพัฒนาการของสมอง
ดังนั้น การเข้าใจพฤติกรรมนี้ของเด็กเป็นอย่างดี
จะเป็นประโยชน์ต่อชีวิตของเด็กในอนาคต
drawing imagine kid [by pramote patana] |
การที่เด็กเล็กพูดกับตัวเอง
หากว่าผู้ใหญ่สามารถเข้าใจพฤติกรรมเช่นนี้ของเด็กแล้ว
ผู้ใหญ่ก็จะสามารถใช้ความเข้าใจนี้ พัฒนาความสามารถในด้านต่างๆ ของเด็กได้
เพราะเมื่อเวลา เด็กเล็กพูดกับตัวเองนั่นแสดงว่า เขากำลังลำบาก
หากว่าผู้ใหญ่สามารถเข้าใจพฤติกรรมเช่นนี้ของเด็กแล้ว
ผู้ใหญ่ก็จะสามารถใช้ความเข้าใจนี้ พัฒนาความสามารถในด้านต่างๆ ของเด็กได้
เพราะเมื่อเวลา เด็กเล็กพูดกับตัวเองนั่นแสดงว่า เขากำลังลำบาก
พ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรที่จะรับรู้และตระหนักได้ว่านั่นคือ
สัญญาณที่แสดงให้เห็นว่า
เด็กกำลังต้องการความช่วยเหลือ คำพูดที่ให้กำลังใจ
และเด็กกำลังต้องการที่จะรู้ว่า
กิจกรรมต่างๆที่เด็กๆกำลังทำอยู่ เด็กๆทำโดยมีจุดประสงค์อะไร
การสั่งห้ามมิให้เด็กพูดกับตัวเอง
จะทำให้เด็กเก็บกดอารมณ์ และความรู้สึกต่างๆ
ซึ่งมันจะส่งผลเสีย ทำให้เด็กไม่มีความกระตือรือร้น
ที่จะทำกิจกรรมใดๆหรือ แม้แต่อ่านหนังสือ
เด็กกำลังต้องการความช่วยเหลือ คำพูดที่ให้กำลังใจ
และเด็กกำลังต้องการที่จะรู้ว่า
กิจกรรมต่างๆที่เด็กๆกำลังทำอยู่ เด็กๆทำโดยมีจุดประสงค์อะไร
การสั่งห้ามมิให้เด็กพูดกับตัวเอง
จะทำให้เด็กเก็บกดอารมณ์ และความรู้สึกต่างๆ
ซึ่งมันจะส่งผลเสีย ทำให้เด็กไม่มีความกระตือรือร้น
ที่จะทำกิจกรรมใดๆหรือ แม้แต่อ่านหนังสือ
การพูดกับตัวเองไม่ใช่เพียงกิจกรรมเดียวที่เด็กเล็กชอบทำ
การมีโลกสมมติของตัวเองก็เป็นกิจกรรมอีกรูปแบบหนึ่งที่ผู้ใหญ่ สามารถพบเห็นได้บ่อยๆ
โลกแห่งการสมมติและจินตนาการในเด็ก จะช่วยให้เด็กมีทักษะในการคิดอย่างสร้างสรรค์การมีโลกสมมติของตัวเองก็เป็นกิจกรรมอีกรูปแบบหนึ่งที่ผู้ใหญ่ สามารถพบเห็นได้บ่อยๆ
มีจินตนาการ และยังช่วยคลายความเครียด
พ่อแม่ ผู้ปกครอง สามารถเสริมสร้างจินตนาการให้กับเด็กๆได้โดย
-อ่านหนังสือด้วยกัน หรืออ่านนิทานให้ฟัง
-ร่วมเล่น ในโลกสมมติไปกับเขาด้วย
-หากิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เช่น
ทำงานศิลปะโดยอาจจะสร้างสรรค์จากนิทาน
หรือแต่งเติมเรื่องในนิทานขึ้นมาใหม่ ด้วยความคิดสร้างสรรค์
สิ่งสำคัญในการพัฒนาความคิดจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก คือ
จะต้องไม่มีการบีบบังคับใดๆ เพราะหากการบังคับทำให้เด็กเกิดความเครียดแล้ว
จะต้องไม่มีการบีบบังคับใดๆ เพราะหากการบังคับทำให้เด็กเกิดความเครียดแล้ว
ความคิดสร้างสรรค์ ก็คงจะไม่มีทางพัฒนา หรือเกิดขึ้นได้หรอกนะครับ
และจะเป็นการดีอย่างยิ่ง หากพ่อแม่ ผู้ปกครอง มีเวลามากพอที่จะเล่นไปกับเด็กๆ
ก็จะช่วยให้เด็กๆพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ไปพร้อมๆกับ การมีความสุข
About the Author:
Pramote Patana :Creator of the work.
Pramote Patana :Blog Administrator.
Pramote Patana :Creator of the work.
Pramote Patana :Blog Administrator.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น